วันพุธที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

Valencia Declaration on Sexual Rights (1997)

XIII World Congress of Sexology
Valencia Declaration on Sexual Rights

At the XIII World Congress of Sexology in Valencia, Spain, June 1997, the following declaration was approved.
Valencia Declaration on Sexual Rights
We, the participants of the XIII World Congress of Sexology, declare that:
Sexuality is a changing and dynamic dimension of humanity. It is constructed through the interaction between the individual and social structures. It is present throughout the life cycle, harmonizing identity and creating and /or strengthening interpersonal bonds.
Sexual pleasure, including autoeroticism, is a source of physical, psychological, intellectual and spiritual well-being. It is associated with a conflict-free and anxiety-free experience of sexuality, allowing, therefore, social and personal development.
We hereby urge that societies create the conditions to satisfy the needs for the full development of the individual and respect the following SEXUAL RIGHTS:
1. The right to freedom, which excludes all forms of sexual coercion, exploitation and abuse at any time and in all situations in life. The struggle against violence is a social priority. All children should be desired and loved.
2. The right to autonomy, integrity and safety of the body. This right encompasses control and enjoyment of our own bodies, free from torture, mutilation and violence of any sort.
3. The right to sexual equity and equality. This refers to freedom from all forms of discrimination, paying due respect to sexual diversity, regardless of sex, gender, age, race, social class, religion and sexual orientation.
4. The right to sexual health, including availability of all sufficient resources for development of research and the necessary knowledge of HIV/AIDS and STDs, as well as the further development of resources for research, diagnosis and treatment.
5. The right to wide, objective and factual information on human sexuality in order to allow decision-making regarding sexual life.
6. The right to a comprehensive sexuality education from birth and throughout the life cycle. All social institutions should be involved in this process.
7. The right to associate freely. This means the possibility to marry or not, to divorce, and to establish other types of sexual associations.
8. The right to make free and responsible choices regarding reproductive life, the number and spacing of children and the access to means of fertility regulation.
9. The right to privacy, which implies the capability of making autonomous decisions about sexual life within a context of personal and social ethics. Rational and satisfactory experience of sexuality is a requirement for human development.
Human sexuality is the origin of the deepest bond between human beings and is essential to the well-being of individuals, couples, families and society. Therefore, the respect for sexual rights should be promoted through all means.
SEXUAL HEALTH IS A BASIC AND FUNDAMENTAL HUMAN RIGHT.
Approved June 1997
Citation: Valencia Declaration on Sexual Rights. Adopted by the XIII World Congress on Sexology, Valencia, Spain, June 1997.

From: http://www.cirp.org/library/ethics/valencia1997/

Masturbation

ความหมายของMasturbation

Masturbation มาจากภาษาลาติน คำว่าmanus ตรงกับคำว่า hand และstuprare ตรงกับคำว่า to defile หรือtubare ตรงกับคำว่า to distribute (รัจรี นพเกตุ, 2541; Byer, Shainberg and Galliano, 1999) ภาษาไทยมักนิยมใช้คำว่า การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเอง หมายถึงการกระตุ้นอวัยวะเพศ หรือส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย เพื่อทำให้เกิดความรู้สึกทางเพศ (รัจรี นพเกตุ, 2541)

การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายขณะMasturbation Masters and Johnson (1966) รายงานว่าการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายขณะmasturbation จะมีการเปลี่ยนแปลงเหมือนกับขั้นตอนในขณะที่มีเพศสัมพันธ์ (Byer, Shainberg and Galliano, 1999) และกระตุ้นการทำงานของ acetylcholine หรือparasympathetic nervous ซึ่งทำให้เกิดการสร้างsex hormones และสารนำประสาท เช่น acetylcholine, dopamine and serotonin (Shaw, 2001)

Masturbationสามารถพบได้กับพฤติกรรมทางเพศรูปแบบอื่น ๆ ควบคู่กันไป เทคนิคการบำบัดทางเพศ ตลอดจนmutual masturbation คือการกระตุ้นเล้าโลมคู่นอนเพื่อให้เกิดความรู้สึกทางเพศ (Byer, Shainberg and Galliano, 1999)

เจตคติเกี่ยวกับMasturbation

Galen (ค.ศ.130-200) แพทย์ชาวโรมันกล่าวว่าการที่ผู้ชายหรือผู้หญิงพยายามเก็บกดอารมณ์ทางเพศของตนจะทำให้เกิดปัญหาทางจิตใจและความวิตกกังวล เขาพบว่าอาการทางจิตชนิดฮีสทีเรียเกี่ยวข้องกับการขาดความสัมพันธ์ทางเพศ เพราะฉะนั้นการรักษาโรคอีสทีเรียคือการร่วมเพศหรือmasturbation (เอนก อารีพรรค และสุวัทนา อารีพรรค, 2525)   

ชนชาติยิว เชื่อว่าการร่วมเพศควรทำเพื่อวัตถุประสงค์เดียวคือการมีบุตร masturbationถือเป็นวิธีการคุมกำเนิดวิธีหนึ่ง (เอนก อารีพรรค และสุวัทนา อารีพรรค, 2525)

ค.ศ.1712 Dr. Balthazar Bekker นักเทววิทยาชาวเดนมาร์คกล่าวว่าmasturbationนำไปสู่อาการเจ็บป่วยระบบทางเดินอาหาร ทำให้ระบบทางเดินหายใจอ่อนแอ ปวดหลัง ขาดประสิทธิภาพในการคิด สูญเสียความจำ ชัก เป็นบ้า และต้องฆ่าตัวตาย (Darby, 2003; Robinson, 2003)

ค.ศ.1758 Simon Andre Tissot นักสรีรวิทยาชาวสวิสเซอร์แลนด์เขียนหนังสือ Onania, or a Treatise Upon the Disorders Produced by Masturbation กล่าวว่าการมีพฤติกรรมทางเพศมากเกินไปเป็นอันตราย โดยเฉพาะอย่างยิ่งmasturbation เพราะทำให้เนื้อเยื่อแห่งชีวิตขาดเลือดไปหล่อเลี้ยงและนำไปสู่อาการวิกลจริต โดยข้อพิสูจน์ในเรื่องนี้คือ ผู้ชายที่วิกลจริตมักจะmasturbationอย่างเปิดเผย (รัจรี นพเกตุ, 2541; Darby, 2003)

ค.ศ.1800-1900 ตรงกับรัชสมัยของพระนางเจ้าวิคตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร ถือว่าmasturbationเป็นสิ่งเลวร้าย เป็นบาป และเป็นโรค ทำให้หมดแรง ทำให้ชักหรือเป็นไข้ (เอนก อารีพรรค และสุวัทนา อารีพรรค, 2525; Darby, 2003) ในประเทศฝรั่งเศส masturbation เป็นความผิดปกติอย่างหนึ่งเช่นเดียวกับพฤติกรรมรักร่วมเพศ การร่วมเพศทางทวารหนัก (ปิยฤดี และไชยันต์ ไชยพร, 2541)

11 พฤษภาคม 1857 Sir Charles Lothingy เชื่อว่าลมชักเกิดจากmasturbationและการขาดlibido ซึ่งเกิดจากการใช้potassium bromide ในการรักษาอาการชัก ค.ศ.1930 Tracy Putnam และ Frederick Gibbs แห่ง Boston City Hospital รายงานว่าอาการชัดเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของระดับกระแสไฟฟ้าในสมอง (Monitor psychology, Volume 31, No. 5, May 2000 http://www.apa.org)

Richard von Krafft-Ebing เขียนหนังสือ Psychopathia Sexualis ในค.ศ.1886 กล่าวว่าmasturbationมีส่วนสัมพันธ์กับhomosexuality และปรับปรุงเพิ่มเติมในค.ศ.1965 กล่าวว่า “masturbating during the early years contaminates the masturbator and removes the source of all noble and ideal sentiment” (Mannino, 1999, p.67)

ค.ศ.1878 Mark Twain กล่าวในหัวข้อSome remarks on the science of onanismว่า "Homer, in the second book of Illiad, says with the fine enthusiam, `Give me masturbation or give me death!΄ Ceasar, in his Commentaries, says, `To the lonely it is company; to the forsaken it is a friend; to the aged and to the impotent it is a benefactor; they that are penniless are yet rich, in that they still have this majestic diversion.΄ In another place this experienced observer has said, `There are times when I prefer it to sodomy. Robinson Crusoe says, `I cannot describe what I owe to this gentle art.΄ Queen Elizabeth said, `It is the bulwark of Virginity.΄ Cetewayo, the Zulu hero, remarked, `A jerk I the hand is worth two in the bush.΄ The immortal Franklin has said, `Masturbation is the mother of invention.΄ He also said, `Masturbation is the best policy.΄ Michelangelo and all the other old masters—Old Masters, I will remark, is an abbreviation, a contraction—have used similar language. Michelangelo said to Pope Julius II, `Self-negation is noble, self-culture is beneficial, self-possession is manly, but to the truly grand and inspiring soul they are poor and tame compared to self-abuse.΄" (Mannino, 1999, p.149)

James Weinrich นิยามว่า “experiments in primates show that if this sexual rehearsal play is interfered with, the result can be an adult who cannot or does not function sexually as well as other individuals who were permitted such play” (Love, 1992, p.168)

Janus (1993) นิยามว่า “masturbation is a natural part of life and continues on in marriage” (Westheimer, 2000, p.175)

XIII World Congress of Sexology in Valencia, Spain, June 1997 ประกาศสิทธิทางเพศที่เกี่ยวข้องกับmasturbationไว้ดังนี้ “The right to autonomy, integrity and safety of the body. This right encompasses control and enjoyment of our own bodies, free from torture, mutilation and violence of any sort.” “บุคคลมีสิทธิที่จะกระทำต่อตนเองให้มีความสุขตอบสนองต่อความต้องการทางเพศตามธรรมชาติ ในปริมาณที่เหมาะสมที่จะไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และไม่ได้ทำให้ผู้อื่นที่ไม่เกี่ยวข้องด้วยต้องเดือดร้อน" (พันธ์ศักดิ์ ศุกระฤกษ์, 2543)

Masturbationและศีลธรรม

พระคริสตธรรมคัมภีร์ ภาคพันธสัญญาเดิม บทปฐมกาล(38:8-10) ยูดาห์จึงบอกโอนันว่า “เข้าไปหาภรรยาพี่ชายของเจ้าเสียเถิด และทำหน้าที่ของน้องผัว เพื่อจะได้สืบพันธุ์ของพี่ชายไว้” โอนันรู้ว่าพันธุ์จะไม่ได้นับเป็นของตน เมื่อเขาเข้าไปหาภรรยาของพี่ชาย จึงทำให้น้ำกามตกดินเสีย ด้วยเกรงว่าจะสืบพันธุ์ให้แก่พี่ชาย ในพระเนตรพระเจ้า สิ่งที่โอนันได้กระทำนั้นผิด พระองค์จึงประหารชีวิตเขาเสีย (สมาคมพระคริสตธรรมไทย, n.d.)

ดังนั้นจึงนิยมใช้คำว่าonanism เป็นความหมายmasturbation (Mannino, 1999; Kelly ed., 1988; Westheimer, 2000) แต่ผู้ทรงคุณวุฒิหลายท่านกล่าวว่าเป็น coitus interruptus มากกว่าmasturbation (Mannino, 1999; Westheimer, 2000)

วิธีและอุปกรณ์ในการทำMasturbation

Masters and Johnson (1966) รายงานว่ารูปแบบที่ผู้ชายส่วนใหญ่ใช้masturbation คือการกระตุ้นด้วยการสัมผัสบริเวณส่วนบนcoronaและองคชาต โดยใช้นิ้วและมือสัมผัสขึ้นลง เมื่อใกล้ถึงorgasmความถี่ในการสัมผัสจะเพิ่มขึ้น จนหยุดเมื่อหลั่งน้ำอสุจิ ผู้ชายบางคนอาจจะใช้ทั้งสองมือในการสัมผัส หรืออาจจะสอดนิ้วหรืออุปกรณ์อื่นเข้าบริเวณทวารหนักขณะmasturbation หรืออาจจะใช้อุปกรณ์สอดเข้าบริเวณurethraที่ปลายสุดขององคชาต (Kelly ed., 1988; Byer, Shainberg and Galliano, 1999) Kinsey (1948) รายงานว่าผู้ชายบางคนพยายามที่จะนำองคชาตเข้าปาก หรือที่เรียกว่าAutofellatio (Kelly ed., 1988)   

Masters and Johnson (1966) รายงานว่ารูปแบบที่ผู้หญิงส่วนใหญ่ใช้masturbation คือการกระตุ้นหรือเสียดสีบริเวณclitoris โดยอาจจะใช้นิ้วมือหรืออุปกรณ์อื่นสอดเข้าบริเวณช่องคลอด ผู้หญิงบางคนอาจจะใช้แรงดันของน้ำ หรือกระแสน้ำอุ่น ผู้หญิงบางคนอาจจะสัมผัสบริเวณเต้านม หรือทวารหนักขณะmasturbation (Kelly ed., 1988; Byer, Shainberg and Galliano, 1999)

Hunt (1975) รายงานว่ารูปแบบของจินตนาการในขณะmasturbationมีรูปแบบที่หลากหลาย เช่น การร่วมเพศหมู่, การใช้ความรุนแรง, การข่มขืนผู้อื่น, และรูปแบบพฤติกรรมทางเพศอื่น ๆ ที่สามารถจินตนาการได้ (Kelly ed., 1988)

Helen Singer Kaplan เขียนหนังสือ The New Sex Therapy: Active Treatment of Sexual Dysfunction กล่าวว่า สำหรับผู้หญิงที่ไม่เคยมีorgasmอาจจะใช้นิ้วทำmasturbation หรืออาจจะใช้อุปกรณ์อื่น โดยเฉพาะvibratorจะมีประสิทธิภาพมากกว่าอุปกรณ์ชนิดอื่น (Westheimer, 2000)

พัฒนาการและMasturbation

Freud (1905) กล่าวว่า เรื่องเพศไม่ได้หมายความเฉพาะเพศสัมพันธ์เท่านั้น แต่รวมถึงการกระทำอย่างหนึ่งอย่างใดซึ่งเป็นผลให้ร่างกายได้รับความสุขความพอใจ ความรู้สึกทางเพศทำงานตั้งแต่วัยเด็ก สังเกตได้จากเด็กมีความสุขจากกิจกรรมเหล่านั้น และกิจกรรมของเด็กได้พัฒนามาเป็นกิจกรรมทางเพศของผู้ใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง3-6ปี เรียกว่าThe Phallicหรือ Oedipal Stage เด็กส่วนใหญ่จะสำรวจร่างกายตนเองและผู้อื่น รวมทั้งสร้างจินตนาการถึงบทบาททางเพศในอนาคตแต่ไม่รู้จักการมีเพศสัมพันธ์ ขั้นนี้เป็นขั้นที่มีความสำคัญมากมักจะทำให้มีพฤติกรรมเบี่ยงเบนไป (นวลละออ สุภาผล, 2527)

การสำรวจเด็กแรกเกิดถึง5ปี พบว่าองคชาติสามารถแข็งตัวได้ และเกิดน้ำหล่อลื่นจากช่องคลอด โดยที่เด็กไม่มีอารมณ์ทางเพศ การสัมผัสส่วนต่าง ๆ ของร่างกายแตกต่างจากmasturbationในผู้ใหญ่ ปฏิกิริยาดังกล่าวน่าจะเกิดจากreflex แต่เมื่อเด็กโตขึ้นปฏิกิริยานี้จะค่อย ๆ เปลี่ยนไป เพราะได้รับอิทธิพลจากประสบการณ์ วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ เด็กจะเรียนรู้ว่าการกระตุ้นอวัยวะเพศสามารถให้ความสุขแก่เขาได้ จึงกระทำบ่อยขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงวัยรุ่น (เอนก อารีพรรค และสุวัทนา อารีพรรค, 2525)

การสัมผัสส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเริ่มต้นตั้งแต่ทารกเพื่อสำรวจร่างกายตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงอายุ 2-5 ปี การสำรวจร่างกายตนเองและผู้อื่นเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างเรียกว่า `Sex Play΄ ซึ่งแตกต่างจากการสัมผัสส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในวัยรุ่นเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของhormone เพื่อระบายความรู้สึก (Westheimer, 2000)

Kinsey (1948, 1953) รายงานว่าเมื่ออายุ15ปี เด็กผู้ชายmasturbation82%เด็กผู้หญิงmasturbation20% อายุ20ปี เด็กผู้ชายmasturbation92% เด็กผู้หญิงmasturbation33% (Kelly ed., 1988)

Kelly (1988) กล่าวว่าการมีเพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุไม่ได้เป็นเครื่องมือวัดการมีกิจกรรมทางเพศเพียงอย่างเดียว เพราะผู้สูงอายุบางคนได้สูญเสียคู่รัก หรือมีปัญหาทางด้านสุขภาพ ไม่สามารถมีเพศสัมพันธ์ได้ masturbationในผู้สูงอายุจึงเป็นสิ่งที่จำเป็นอย่างมาก

ประโยชน์ของMasturbation

Kinsey (1953) รายงานว่า ผู้หญิงที่masturbationจนถึงorgasmโดยไม่มีความรู้สึกว่าเป็นสิ่งผิดหรือน่าละอายในช่วงที่เป็นวัยรุ่น จะมีความสามารถในการถ่ายทอดความสุขทางเพศให้เกิดขึ้นขณะร่วมเพศ (รัจรี นพเกตุ, 2541)

Hite รายงานว่าคนที่ไม่เคยมีประสบการณ์เกี่ยวกับmasturbationมีปัญหาทางเพศมากกว่าคนที่มีประสบการณ์ (เอนก อารีพรรค และสุวัทนา อารีพรรค, 2525)

Masturbation เป็นส่วนหนึ่งของการพัฒนาบุคลิกภาพของคนเรา และเป็นสิ่งปกติถ้ากระทำโดยพอเหมาะพอควร ไม่หมกมุ่นจนเกินไป และสามารถยับยั้งชั่งใจได้เมื่ออยู่ในสภาวะที่ไม่สมควรกระทำ ในสมัยก่อนเชื่อว่าmasturbationจะทำให้ผู้ชายเจ็บป่วยทางร่างกายหรือจิตใจ เช่น เป็นกามตายด้าน เป็นบ้า หรือปัญญาเสื่อม แต่พบว่าคนส่วนใหญ่กระทำกันตั้งแต่วัยทารกจนถึงวัยผู้ใหญ่ที่มีความสัมพันธ์ทางเพศเป็นอย่างดีกับเพศตรงกันข้าม โดยไม่เกิดปัญหาดังกล่าวเลย ตรงกันข้ามมีผู้เชื่อว่าวัยรุ่นชายที่ไม่เคยmasturbationน่าจะมีปัญหาทางจิตใจและปัญหาทางเพศเสียด้วยซ้ำ รวมทั้งรักษาอาการตึงเครียดก่อนมีประจำเดือน (premenstrual tension) และอาการปวดประจำเดือนได้ (เอนก อารีพรรค และสุวัทนา อารีพรรค, 2525)

Alan Brauer and Donna Brauer รายงานว่า masturbationเป็นรูปแบบการรักษาทางเพศที่มีผลต่อทางด้านจิตใจอย่างมาก ทำให้สุขภาพดีและสามารถนำไปสู่การมีความสัมพันธ์กับผู้อื่นอย่างใกล้ชิด (Love, 1992)

Arnold Kegel พัฒนารูปแบบmasturbationเพื่อใช้ในการรักษาการควบคุมorgasmที่บริเวณกล้ามเนื้อpubococcygeusที่อยู่บริเวณmon pubisจนถึงทวารหนัก เรียกวิธีนี้ว่าKegel exercises (Love, 1992; รัจรี นพเกตุ, 2541)

Hurlburt and Whittaker (1991) รายงานว่า masturbationเมื่อแต่งงานแล้วทำให้เกิดความสุขความพอใจมากขึ้น (รัจรี นพเกตุ, 2541)

Detzer and Srebnik Leitenberg (1993) รายงานว่า masturbationในช่วงวัยรุ่นไม่เป็นอันตรายต่อการปรับตัวทางเพศ (รัจรี นพเกตุ, 2541)

U.S. News & World Report, December 19, 1994 รายงานว่า “In December 1994, President Clinton asked Surgeon General Jocelyn Elders to resign as a result of a comment made on World AIDS Day that suggested the promotion of masturbation might help to curtail more risk forms of sexual activities” (Mannino, 1999, p.67)

Masturbation Method เป็นวิธีบำบัดวิธีหนึ่ง โดยนักเพศบำบัดหลายคนพบว่า masturbationต่อหน้าคู่นอนของตน ทำให้เกิดการเรียนรู้จุดสำคัญในการกระตุ้นอารมณ์ทางเพศ วิธีนี้นิยมใช้ในผู้หญิงที่มีปัญหาทางเพศ โดยอาจจะใช้vibratorด้วย วิธีนี้ไม่ได้ทำให้เกิดorgasmเหมือนการร่วมเพศ แต่เป็นการช่วยให้คู่นอนของตนทราบว่าควรจะกระตุ้นที่ใดจึงจะเกิดความรู้สึก (รัจรี นพเกตุ, 2541)

Masturbation และmutual masturbation เป็นวิธีการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์วิธีหนึ่ง (พันธ์ศักดิ์ ศุกระฤกษ์, 2542; กรมสุขภาพจิต, 2547)

ข้อควรระวัง

วัยรุ่นส่วนใหญ่เมื่อmasturbation เป็นครั้งแรกมักจะเกิดความกังวลเกี่ยวกับศีลธรรม ผู้ใหญ่ไม่ควรจะตำหนิว่ากล่าว โดยการขู่ให้กลัวหรือสอนความเชื่อที่ผิด ๆ เพราะจะทำให้เด็กรู้สึกผิดและมีปัญหาทางเพศต่อไปได้ แต่ควรสอนให้เขาสามารถยั้บยั้งชั่งใจได้เมื่ออยู่ในสภาวะที่ไม่สมควรกระทำ กระทำในที่ส่วนตัวหรือที่มิดชิด ไม่หมกมุ่นจนเกินไป และร่วมกันทำกิจกรรมอื่นเพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ (เอนก อารีพรรค และสุวัทนา อารีพรรค, 2525; พันธ์ศักดิ์ ศุกระฤกษ์, 2542; Westheimer, 2000)

การใช้มือกระตุ้นอวัยวะเพศเพื่อmasturbation ถ้ากระทำรุนแรงหรือบ่อยเกินไปอาจทำให้อวัยวะเพศชอกช้ำหรือเป็นแผลได้ การใช้vibrator เพื่อกระตุ้นอารมณ์เพศของฝ่ายหญิงก็เช่นกัน ถ้าใช้บ่อย ๆ อาจเป็นอันตรายต่ออวัยวะเพศ การใช้เครื่องมือหรือวัตถุบางอย่างในกิจกรรมทางเพศควรกระทำด้วยความระมัดระวัง และต้องให้อีกฝ่ายรับรู้ด้วย (เอนก อารีพรรค และสุวัทนา อารีพรรค, 2525)

Masturbationจะผิดปกติเฉพาะกรณีที่บุคคลนั้นกระทำบ่อยจนเกินไป กระทำอย่างยับยั้งใจไม่ได้ หรือกระทำในที่เปิดเผยโดยปราศจากความอับอาย อย่างไรก็ตามไม่แนะนำmasturbationให้แก่บุคคลที่มีความกลัว ความรังเกียจ และความรู้สึกผิดเกี่ยวกับการกระทำนี้ (เอนก อารีพรรค และสุวัทนา อารีพรรค, 2525)

การใช้vibrator ผู้หญิงบางคนไม่สามารถมีความสุขสุดยอดจากการร่วมเพศด้วยอวัยวะเพศของสามี หรือไม่เคยมีความสุขสุดยอดโดยการกระตุ้นด้วยวิธีใดวิธีหนึ่งนอกจากใช้vibrator บางคนกล่าวว่าวิธีนี้ทำให้มีความสุขสุดยอดรุนแรงมากกว่าปกติ จึงติดใจวิธีนี้แทนที่จะพยายามปรับปรุงวิธีปกติให้ดีขึ้น (เอนก อารีพรรค และสุวัทนา อารีพรรค, 2525)

การใช้อุปกรณ์ต่างๆขณะmasturbation จำเป็นที่ต้องรักษาความสะอาด เพราะอาจจะทำให้เกิดการติดเชื้อขึ้นได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้หญิงที่นำอุปกรณ์สอดเข้าทวารหนักแล้วไม่ควรนำมาสอดเข้าช่องคลอดโดยไม่ทำความสะอาดก่อน และผู้ชายที่ใช้อุปกรณ์สอดเข้าบริเวณurethra (Kelly ed., 1988)
Masturbationและmutual masturbation ในผู้ที่มีโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่ติดเชื้อHIVต้องระมัดระวังบริเวณที่สัมผัสน้ำคัดหลั่ง ไม่ควรให้มีบาดแผล (กรมสุขภาพจิต ,2547)

Hypoxyphilia หรือ Autoerotic Asphyxiation พฤติกรรมทางเพศแบบMasochism จากการขาดออกซิเจนในการทำmasturbation นิยมใช้อุปกรณ์รัดที่ลำคอ ซึ่งมีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตมาก ดังนั้นไม่ควรใช้วิธีอื่นนอกจากการกลั้นหายใจ เพราะสามารถควบคุมได้ (รัจรี นพเกตุ, 2541; สมภพ เรืองตระกูล, 2546)

อ้างอิง

หารายละเอียดไม่เจอ ขออภัยเป็นอย่างยิ่ง

APA44 Gay and Lesbian

American Psychological Association จะมีการยกย่องว่าผู้เชี่ยวชาญทางด้านสาขาต่าง ๆ มีใครบ้าง โดยส่วนตัวคิดว่าสาขานี้จะมีผู้เชี่ยวชาญหลายคน ปรากฏว่ามีอยู่คนเดียวคือ

Gail Isra Pheterson
Born: 1948, Rochester, New York, USA
Educ: PhD University of California, 1974

Principle Publication:
1971: Evaluation of women as a function of their sex, achievement and personal history.
1981: Love in freedom.
1990: The category 'prositute' in scientific inquriy.
1995: Trends and Issues in Theoretical Psychology.

ที่มา: Sheehy, Neel, Antony J. Chapman and Wendy Conroy, ed. (1997). Biographical Dictionary of Psychology. Routledge.

พัฒนาการการศึกษาด้านPsychology of Music

พัฒนาการการศึกษาด้านPsychology of Music (Sadie, ed. 2001: 527-532)

1.อดีตจนถึงศตวรรษที่19 การศึกษาในยุคนี้ สามารถแบ่งออกเป็นยุคย่อยๆ ออกเป็น
1.1) Ancient Time ศึกษาทางด้านความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของดนตรีทางด้านคณิตศาสตร์ เช่น ผลงานของPythagoras in the 6th Century BCE, Anaxagoras (c449-428 BCE), Boethius (480-524 CE), Aristoxenus (c320 BCE)
1.2) Middle Age and Renaissance ศึกษาในรูปแบบศาสตร์ที่สัมพันธ์กัน (Quadrivium) ทางด้านดาราศาสตร์, ธรณีวิทยา, เรขาคณิต และดนตรี เช่น ผลงานของG.B. Benedetti, Vicenzo Galilei
1.3) The Scientific Revolution ศึกษาทางด้านการรับรู้องค์ประกอบของดนตรี เช่น ผลงานของMersenne, Galileo, Kepler, Huygens, Descartes
1.4) The Last 17th and the 18th Centuries ศึกษาทางด้านความเข้าใจในเสียง เช่น ผลงานของWallace, Sauveur, Newton, Bernouilli, d’Alembert, Euler, Leibniz, Fourier, Ohm, Helmholtz

2.คริสต์ศตวรรษ 1860 – 1960 จิตวิทยาได้รับการยกฐานะเป็นวิทยาศาสตร์สาขาหนึ่ง การศึกษาในยุคนี้ สามารถจัดประเภทตามสาขาของจิตวิทยา คือ
2.1) Structuralism การทดลองทางด้านความสัมพันธ์ระหว่างจังหวะและการรับรู้ทางด้านการได้ยิน การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ ความตึงเครียด และการผ่อนคลาย เช่น ผลงานของWundt
2.2) Gestalt การรับรู้ของลักษณะเสียงที่แตกต่างกันในแต่ละบุคคล และสถานการณ์ เช่น ผลงานของFraisse, Révész, Shepard, Wellek
2.3) Behaviourism การเสริมแรงในการเรียนรู้ทักษะทางด้านดนตรี เช่น ผลงานของLundin

3.ภายหลังศตวรรษที่ 20 การศึกษาได้มุ่งเน้นทางด้าน
3.1)The cognitive representation of pitch and rhythm การแยกแยะการรับรู้ของระดับเสียงและจังหวะ
3.2) The development of musical competence and skill การพัฒนาความสามารถและทักษะทางด้านดนตรี
3.3) Processes underlying musical performance กระบวนการพื้นฐานการแสดงทางด้านดนตรี
3.4) The affective processes associated with music listening กระบวนการตอบสนองที่มีความสัมพันธ์กับการฟังดนตรี

Chronological History of Divisions APA

When the amalgamation of the American Association of Applied Psychology (AAAP) and the American Psychological Association (APA) took place in 1945, the first 19 divisions listed below were shown in the first Bylaws as Charter Divisions. The division did not get formally organized, however, until 1948. Changes in name are indicated in parentheses.

1. General Psychology (became the Society for General Psychology in 1999)
2. Teaching of Psychology (became Society for the Teaching of Psychology in 1996)
3. Theoretical-Experimental Psychology (in 1949 Divisions 3 and 6 joined using the new name: Division 3, Experimental Psychology)
4. The Psychometric Society - A Division of the APA (decided not to become a division; 4 remains vacant)
5. Evaluation and Measurement (became Evaluation, Measurement and Statistics in 1989 when petitioners of a proposed division on assessment joined this division)

6. Physiological & Comparative Psychology (see Division 3; in 1962 Council approved a new Division 6 using the old name; changed to Behavioral Neuroscience and Comparative Psychology in 1995)
7. Childhood and Adolescence (changed to Developmental Psychology in 1954)
8. Personality & Social Psychology (changed to Society of Personality and Social Psychology in 1982)
9. The Society for the Psychological Study of Social Issues - A Division of APA
10. Esthetics (changed to Psychology and the Arts in 1965 and to the Society for the Psychology of Aesthetics, Creativity and the Arts in 2002)

11. Abnormal Psychology and Psychotherapy (a short life -- by 1946 it had joined Division 12 for the Division of Clinical and Abnormal Psychology; Division 11 remains vacant)
12. Clinical Psychology (see Division 11; in 1954 it became Clinical Psychology once more; in 1998 it became the Society of Clinical Psychology)
13. Consulting Psychology (changed to Society of Consulting Psychology in 2001)
14. Industrial and Business Psychology (changed to Industrial Psychology in 1960; to Industrial and Organizational Psychology in 1972; and to the Society for Industrial and Organizational Psychology, Inc. in 1983)
15. Educational Psychology

16. School Psychologists (changed to School Psychology in 1969)
17. Personnel and Guidance Psychologists (changed to Counseling and Guidance in 1951 and to Counseling Psychology in 1953 and to Society of Counseling Psychology in 2003)
18. Psychologists in Public Service
19. Military Psychology

Divisions 12, 13, 14, 15 and 19 were sections in the old AAAP; they go back to 1938, except for 19 which was probably set up in 1944. The AAAP members in military service were included after the lists of sections in the 1943 AAAP directory.

20. Psychology of Adulthood and Old Age (1945) (listed as Maturity and Old Age in 1946 and changed to Adult Development and Aging in 1970)

21. The Society of Engineering Psychologists -- a Division of the APA (1956) (changed to Division of Applied Experimental and Engineering Psychologists in 1983; and to Applied Experimental and Engineering Psychology in 1996)
22. National Council on Psychological Aspects of Disability -- a Division of the APA (1958) (changed to Psychological Aspects of Disability in 1960 and Rehabilitation Psychology in 1972)
23. Consumer Psychology (1960) (changed to the Society for Consumer Psychology in 1988)
24. Philosophical Psychology (1962) (changed to Theoretical and Philosophical Psychology in 1980)
25. Experimental Analysis of Behavior (1965) (changed to Division of Behavior Analysis in 2000)

26. History of Psychology (1966)
27. Community Psychology (1967) (changed to The Society for Community Research and Action - The Division of Community Psychology of the APA in 1990)
28. Psychopharmacology (1967) (changed to Psychopharmacology and Substance Abuse in 1990)
29. Psychotherapy (1968) (formerly Psychologists Interested in the Advancement of Psychotherapy)
30. Psychological Hypnosis (1969) (changed to Society of Psychological Hypnosis in 2001)

31. State Psychological Association Affairs (1969)
32. Humanistic Psychology (1972)
33. Mental Retardation (1973) (changed to Mental Retardation and Developmental Disabilities in 1989)
34. Population Psychology (1974) (changed to Population and Environmental Psychology in 1976)
35. Psychology of Women (1974) (changed to Society for the Psychology of Women in 1999)

36. Psychologists Interested in Religious Issues (1976) (changed to Psychology of Religion in 1992)
37. Child and Youth Services (1978) (changed to Child, Youth and Family Services in 1982)
38. Health Psychology (1978)
39. Psychoanalysis (1980)
40. Clinical Neuropsychology (1980)

41. Psychology and the Law (1981) (changed to the American Psychology-Law Society in 1984)
42. Psychologists in Independent Practice (1982)
43. Family Psychology (1985)
44. The Society for the Psychological Study of Lesbian and Gay Issues -- A Division of APA (1985) (changed to Society for the Psychological Study of Lesbian, Gay and Bisexual Issues -- A Division of APA in 1997)
45. The Society for the Psychological Study of Ethnic Minority Issues (1986)

46. Media Psychology (1986)
47. Exercise and Sport Psychology (1986)
48. Peace Psychology (1990) (changed to the Society for the Study of Peace, Conflict, and Violence: Peace Psychology Division in 1998)
49. Group Psychology and Group Psychotherapy (1991)
50. Division on Addictions (1993)

51. Society for the Psychological Study of Men and Masculinity (1995)
52. International Psychology (1997)
53. Clinical Child Psychology (1999) (changed to Society of Child Clinical and Adolescent Psychology in 2001)
54. Society of Pediatric Psychology (1999)
55. American Society for the Advancement of Pharmacotherapy (2000)

From: http://www.apa.org/about/division/appendix9.html