วันพุธที่ 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553

พัฒนาการการศึกษาด้านPsychology of Music

พัฒนาการการศึกษาด้านPsychology of Music (Sadie, ed. 2001: 527-532)

1.อดีตจนถึงศตวรรษที่19 การศึกษาในยุคนี้ สามารถแบ่งออกเป็นยุคย่อยๆ ออกเป็น
1.1) Ancient Time ศึกษาทางด้านความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงองค์ประกอบของดนตรีทางด้านคณิตศาสตร์ เช่น ผลงานของPythagoras in the 6th Century BCE, Anaxagoras (c449-428 BCE), Boethius (480-524 CE), Aristoxenus (c320 BCE)
1.2) Middle Age and Renaissance ศึกษาในรูปแบบศาสตร์ที่สัมพันธ์กัน (Quadrivium) ทางด้านดาราศาสตร์, ธรณีวิทยา, เรขาคณิต และดนตรี เช่น ผลงานของG.B. Benedetti, Vicenzo Galilei
1.3) The Scientific Revolution ศึกษาทางด้านการรับรู้องค์ประกอบของดนตรี เช่น ผลงานของMersenne, Galileo, Kepler, Huygens, Descartes
1.4) The Last 17th and the 18th Centuries ศึกษาทางด้านความเข้าใจในเสียง เช่น ผลงานของWallace, Sauveur, Newton, Bernouilli, d’Alembert, Euler, Leibniz, Fourier, Ohm, Helmholtz

2.คริสต์ศตวรรษ 1860 – 1960 จิตวิทยาได้รับการยกฐานะเป็นวิทยาศาสตร์สาขาหนึ่ง การศึกษาในยุคนี้ สามารถจัดประเภทตามสาขาของจิตวิทยา คือ
2.1) Structuralism การทดลองทางด้านความสัมพันธ์ระหว่างจังหวะและการรับรู้ทางด้านการได้ยิน การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ ความตึงเครียด และการผ่อนคลาย เช่น ผลงานของWundt
2.2) Gestalt การรับรู้ของลักษณะเสียงที่แตกต่างกันในแต่ละบุคคล และสถานการณ์ เช่น ผลงานของFraisse, Révész, Shepard, Wellek
2.3) Behaviourism การเสริมแรงในการเรียนรู้ทักษะทางด้านดนตรี เช่น ผลงานของLundin

3.ภายหลังศตวรรษที่ 20 การศึกษาได้มุ่งเน้นทางด้าน
3.1)The cognitive representation of pitch and rhythm การแยกแยะการรับรู้ของระดับเสียงและจังหวะ
3.2) The development of musical competence and skill การพัฒนาความสามารถและทักษะทางด้านดนตรี
3.3) Processes underlying musical performance กระบวนการพื้นฐานการแสดงทางด้านดนตรี
3.4) The affective processes associated with music listening กระบวนการตอบสนองที่มีความสัมพันธ์กับการฟังดนตรี