วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551

วิวัฒนการของนิตยสารสตรีไทย

วิวัฒนการของนิตยสารสตรีไทย สามารถแบ่งออกเป็น 5 ยุคได้แก่
1. ยุคการปลุกสำนึกในด้านการใฝ่หาความรู้และสิทธิของสตรีไทย (พ.ศ. 2431-มิถุนายน 2475)
2. ยุคมืดของนิตยสารสตรี (พ.ศ. 2475-2489)
3. ยุคตื่นตัวของนิตยสารสตรี (พ.ศ. 2490-2500)
4. ยุคนวนิยายพาฝัน (พ.ศ. 2501-2516)
5. ยุคข่าวสารและความหลากหลายของนิตยสารสตรี (พ.ศ. 2516-2531)

อุบลวรรณ ปิติพัฒนะโฆษิต และอวยพร พานิช. 2532. 100 ปีของนิตยสารสตรีไทย (พ.ศ.2431-2531). รายงานการวิจัยประกอบ Forum ผู้หญิงกับสื่อสารมวลชน ลำดับที่ 1 คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วันศุกร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551

The Cartoonist as God

ในญี่ปุ่น แพทย์ ศิลปิน อาจารย์ มักจะมีคำนำหน้าว่า Sensei (teacher, master) เสมอ แต่บางครั้งเด็กอายุ 18 ปีก็สามารถก็สามารถเป็นSenseiได้จากยอดขายการ์ตูนที่เพิ่งเริ่มวาดเป็นครั้งแรก ทำให้ในอุตสาหกรรมการ์ตูนนั้นจะมีคำนำหน้าที่หลากหลาย เพื่อเป็นการแบ่งแยกวัยวุฒิและสถานภาพ เช่น Sosho (slightly above sensei), Kyosho (great master, maestro), Osama (king) และ Kyoso (founder of a religion) ซึ่ง Osamu Tezuka ผู้บุกเบิกการ์ตูนญี่ปุ่นสมัยใหม่จะมีสมญานามพิเศษกว่าผู้อื่น คือ Manga no kamisama (God of Comics)

ที่มา: Schodt, Frederik L., 1986. Manga! Manga! the world of Japanese comics. Kodansha International Ltd. p.139